ตัวชี้วัดอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน



คณะทำงานอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน (ASEAN Working Group on Environmentally Sustainable Cities: AWGESC) ได้มีการดำเนินงานตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นมา โดยมีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) เป็นหน่วยประสานงานกลาง (National Focal Point) ของประเทศไทย ซึ่งการดำเนินงานที่ผ่านมาได้มีการจัดทำกรอบการดำเนินงานด้าน การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยมีรางวัลอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน เป็นมาตรการกระตุ้นให้เมืองในภูมิภาคอาเซียนดำเนินงานตามกรอบและตัวชี้วัดอาเซียนนี้

ตัวชี้วัดอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน แบ่งออกเป็น 3 ส่วนได้แก่
ตัวชี้วัดด้านอากาศ (Clean Air)
ตัวชี้วัดด้านน้ำ (Clean Water)
ตัวชี้วัดด้านขยะและพื้นที่สีเขียว (Clean and Green Land)



 

ตัวชี้วัดด้านน้ำ (Clean Water)
1.เพื่อให้ได้มาซึ่งการเข้าถึงและคุณภาพที่ดีของน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค
1.1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่อกับระบบน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค
ร้อยละ
คะแนน
1-10
10
>10-20
20
>20-40
40
>40-60
60
>60-80
80
>80-100
100

1.2 ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงระบบน้ำใช้ของชุมชนและผ่านค่ามาตรฐานระดับชาติ
ร้อยละ
คะแนน
1-10
10
>10-20
20
>20-40
40
>40-60
60
>60-80
80

1.3 ร้อยละของครัวเรือนที่เชื่อมต่อกับท่อใช้น้ำประปาและผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำดื่มของ WHO (BONUS)
ร้อยละ
คะแนน
1-10
10
>10-20
20
>20-40
40
>40-60
60
>60-80
80
>80-100

100


2.เพื่อปกป้องแหล่งน้ำ คุ้มครองระบบนิเวศ และสาธารณสุข
2.1 ร้อยละของครัวเรือน (และชุมชน) ที่มีหรือเชื่อมต่อระบบบำบัดน้ำเสีย
ร้อยละ
คะแนน
1-10
10
>10-20
20
>20-40
40
>40-60
60
>60-80
80
>80-100
100
2.2 ร้อยละของพาณิชยกรรมและ/หรืออุตสาหกรรมที่มีการเชื่อมต่อระบบบำบัดน้ำเสียและมีค่าน้ำทิ้งผ่านมาตรฐานน้ำทิ้งของประเทศ
ร้อยละ
คะแนน
ไม่มีระบบตรวจวัดยานยนต์
25
มีการสุ่มตรวจวัดยานยนต์ริมถนน
50
มีการตรวจวัดยานยนต์เป็นประจำ
75
มีทั้งการสุ่มตรวจวัดยานยนต์ริมถนน และตรวจวัดยานยนต์เป็นประจำ
100

2.3 ร้อยละของครัวเรือน(และชุมชน) ที่มีและ/หรือเชื่อมต่อระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนและผ่านมาตรฐานของประเทศ (BONUS)
ร้อยละ
คะแนน

1-10

0
>10-20
20
>20-40
40
>40-60
60
>60-80
80
>80-100
100

3.เพื่อความแน่ใจว่ามีความยั่งยืนของน้ำใช้เพื่อการอุปโภคและบริโภค รวมทั้งมีการจัดการ
3.1 การพัฒนาและดำเนินการด้านการจัดการน้ำอย่างบูรณาการ
การพัฒนาและจัดการน้ำอย่างบูรณาการ
คะแนน
ไม่มีแผน
0
อยู่ระหว่างพัฒนาแผน(ระยะเริ่มต้น)
25
มีแผน
50
มีการดำเนินงานตามแผนบางส่วน
75
มีการดำเนินการตามแผนตามที่กำหนด
100

4.เพื่อให้มีการถ่ายทอดในเรื่องความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและการร่วมเป็นเจ้าของสิ่งแวดล้อม
4.1 ร้อยละของโรงเรียนในเมืองในแต่ละระดับ(ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา เป็นต้น) มีโปรแกรมการอนุรักษน้ำ์
ร้อยละ
คะแนน
1-10
10
>10-20
20
>20-40
40
>40-60
60
>60-80
80
>80-100
100

4.2 การนำหลักสูตรการอนุรักษ์น้ำของประเทศสู่การปฏิบัติ
ร้อยละ
คะแนน

1-10

10
>10-20
20
>20-40
40
>40-60
60
>60-80
80
>80-100
100

5.คุณภาพสิ่งแวดล้อมของน้ำ
5.1 ค่าเฉลี่ยรายปีของดัชนีคุณภาพน้ำที่ตรวจวัด (pH, DO, BOD และ Fecal Coliform)
ร้อยละ
คะแนน
0
0
1
25
2
50
3
75
4
100



 

โครงการรางวัลอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน
สำนักสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
60/1 ซอยพิบูลย์วัฒนา 7 ถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ (02)265-6574 สงวนลิขสิทธิ์ 2556
Free Web Hosting