ตัวชี้วัดอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน



คณะทำงานอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน (ASEAN Working Group on Environmentally Sustainable Cities: AWGESC) ได้มีการดำเนินงานตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นมา โดยมีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) เป็นหน่วยประสานงานกลาง (National Focal Point) ของประเทศไทย ซึ่งการดำเนินงานที่ผ่านมาได้มีการจัดทำกรอบการดำเนินงานด้าน การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยมีรางวัลอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน เป็นมาตรการกระตุ้นให้เมืองในภูมิภาคอาเซียนดำเนินงานตามกรอบและตัวชี้วัดอาเซียนนี้

ตัวชี้วัดอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน แบ่งออกเป็น 3 ส่วนได้แก่
ตัวชี้วัดด้านอากาศ (Clean Air)
ตัวชี้วัดด้านน้ำ (Clean Water)
ตัวชี้วัดด้านขยะและพื้นที่สีเขียว (Clean and Green Land)



 

ตัวชี้วัดด้านขยะและพื้นที่สีเขียว (Clean and Green Land)
1.เพื่อความแน่ใจว่ามีการจัดเก็บมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ
1.1 ร้อยละของประชากรที่อยู่ในพื้นที่ครอบคลุมระบบการจัดเก็บมูลฝอยของเทศบาล
ร้อยละ
คะแนน
>50
20
60
40
70
60
80
80
90
100

2.(A) เพื่อความแน่ใจว่ามีการกำจัดมูลฝอยอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
2.1 ร้อยละของมูลฝอยต่อประชากรที่ได้มีการนำไปกำจัด ณ สถานที่กำจัดมูลฝอย
ร้อยละ
คะแนน
>45
20
55
40
65
60
75
80
85
100

2.(B) เพื่อความแน่ใจในการจัดการมูลฝอยตกค้างอย่างปลอดภัย
2.2 วิธีการ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการมูลฝอยที่มีคุณภาพ
วิธีจัดการขยะมูลฝอย
คะแนน
การฝังกลบที่มีการควบคุม
20
การฝังกลบเชิงวิศวกรรม
40
การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาลหรือการใช้เตาเผา
80

3. การสนับสนุนให้มีการลดมูลฝอย การติดตามตรวจสอบอย่างไม่เป็นทางการ และการสนับสนุนให้มีการนำกลับมาใช้ใหม่ (รีไซเคิล)
3.1 การลดปริมาณมูลฝอยต่อประชากร (ในช่วงเวลาอย่างน้อย 3 ปี)
ร้อยละของมูลฝอยที่ลดได้เทียบกับการผลิตมูลฝอยต่อประชากร
คะแนน
>3
20
6
40
9
60
12
80
15
100

4. การดูแลรักษาพื้นที่สีเขียวในเมือง เพื่อนันทนาการและอนุรักษ์พันธุ์ไม้ท้องถิ่น การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน การรักษาสมดุลน้ำ และการปรับปรุงคุณภาพอากาศ
4.1 ร้อยละของพื้นที่ที่ไม่มีสิ่งปลูกสร้างต่อพื้นที่เมืองโดยรวม
ร้อยละของพื้นที่ที่ไม่มีสิ่งปลูกสร้างต่อพื้นที่เมืองโดยรวม
คะแนน
5
20
10
40
15
60
20
80
25
100

4.2 ร้อยละของพื้นที่สีเขียวต่อพื้นที่เมือง
ร้อยละ
คะแนน
1-7
20
ตั้งแต่ 7-15
40
ตั้งแต่ 15-23
60
ตั้งแต่ 23-30
80
มากกว่าหรือเท่ากับ 30
100




 

โครงการรางวัลอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน
สำนักสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
60/1 ซอยพิบูลย์วัฒนา 7 ถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ (02)265-6574 สงวนลิขสิทธิ์ 2556
Free Web Hosting